Click >>>ภาพประกอบ/ภาพระบายสีเกี่ยวกับวันสำคัญทางพุทธศาสนา
Click >>>ประวัติวันวิสาขบูชาภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
Click >>>ประวัติวันมาฆบูชาภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
Click >>>ประวัติวันเข้าพรรษาภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
วันอาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธนิกายเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทย คำว่า อาสาฬหบูชา ย่อมาจาก "อาสาฬหปูรณมีบูชา" แปลว่า "การบูชาในวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ" อันเป็นเดือนที่สี่ตามปฏิทินของประเทศอินเดีย ตรงกับวันเพ็ญ เดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย ซึ่งมักจะตรงกับเดือนกรกฎาคมหรือเดือนสิงหาคม แต่ถ้าในปีใดมีเดือน 8 สองหน ก็ให้เลื่อนไปทำในวันเพ็ญเดือน 8 หลังแทน
วันอาสาฬหบูชาได้รับการยกย่องเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 คือวันอาสาฬหปุรณมีดิถี หรือวันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี แคว้นกาสี อันเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาคือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรแก่ปัญจวัคคีย์
การแสดงธรรมครั้งนั้นทำให้พราหมณ์โกณฑัญญะ 1 ใน 5 ปัญจวัคคีย์ เกิดความเลื่อมใสในพระธรรมของพระพุทธเจ้า จนได้ดวงตาเห็นธรรมหรือบรรลุเป็นพระอริยบุคคลระดับโสดาบัน ท่านจึงขออุปสมบทในพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า ด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา พระอัญญาโกณฑัญญะจึงกลายเป็นพระสาวกและภิกษุองค์แรกในโลก และทำให้ในวันนั้นมีพระรัตนตรัยครบองค์สามบริบูรณ์เป็นครั้งแรกในโลก คือ มีทั้งพระพุทธเจ้า พระธรรมและพระสงฆ์ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้วันนี้ถูกเรียกว่า "วันพระธรรม" หรือ วันพระธรรมจักร อันได้แก่วันที่ล้อแห่งพระธรรมของพระพุทธเจ้าได้หมุนไปเป็นครั้งแรก และ "วันพระสงฆ์" คือวันที่มีพระสงฆ์เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก อีกด้วย
เดิมนั้นไม่มีการประกอบพิธีการบูชาในเดือน 8 หรือวันอาสาฬหบูชาในประเทศพุทธเถรวาทมาก่อน จนมาในปี พ.ศ. 2501 การบูชาในเดือน 8 หรือวันอาสาฬหบูชาจึงได้เริ่มมีขึ้นในประเทศไทย ตามที่คณะสังฆมนตรี ได้กำหนดให้วันนี้เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาของประเทศไทยอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2501 โดยคณะสังฆมนตรีได้มีมติให้เพิ่มวันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธในประเทศไทย ตามคำแนะนำของ พระธรรมโกศาจารย์ (ชอบ อนุจารี) โดยคณะสังฆมนตรีได้ออกเป็นประกาศสำนักสังฆนายกเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2501กำหนดให้วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาพร้อมทั้งกำหนดพิธีอาสาฬหบูชาขึ้นอย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดยมีพิธีปฏิบัติเทียบเท่ากับวันวิสาขบูชาอันเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาสากล
อย่างไรก็ตาม วันอาสาฬหบูชาถือเป็นวันสำคัญที่กำหนดให้กับวันหยุดของรัฐเพียงแต่ในประเทศไทยเท่านั้น ส่วนในต่างประเทศที่นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทอื่น ๆ ยังไม่ได้ให้ความสำคัญกับวันอาสาฬหบูชาเทียบเท่ากับวันวิสาขบูชา
Asalha Puja Day There are two Buddhist holy days in July. Asaha Puja Day or Sangha Day and the beginning of Buddhist Lent, Wan Khao Punsa. They are official holidays in Thailand and many people go to temples for special ceremonies. 'Asaha' means the eighth lunar month and Asaha Puja means the ceremony in the eighth lunar month. On the full moon day of the eighth lunar month, the Lord Buddha gave his first sermon and one of his followers became the first Buddhist monk. The followers of the Buddha are together called the Sangkha, and that is why Asaha Puja is called 'Sangha Day'. During his first sermon, the Buddha talked about 'The Middle Way', which means that we should try hard enough but not to hard. If we wish to be successful in Spiritual life, we should avoid the two extremes: 1. Trying too hard, such as not eating or not sleeping enough and 2. Not trying hard enough, such as eating and sleeping too much. He also spoke about the Noble Eightfold Path. This path tells us 1. live in a way that does not harm ourselves or others, 2. to help ourselves and others and 3. to purify the mind. He said Do good:Avoid evil:And purify the mind. He gave eight guidelines to help us to live i this way., and together they are called the Noble Eightfold Path. He advised people to speak and act and earn their living in good ways. He also advised them to practise meditation to purify their minds. Then they can get deep wisdom (Panya in Thai). When people go to the temples on Asaha Puja Day and when they ordain as monks, novices or nuns, they try to live by the Noble Eightfold Path.
ขอขอบคุณข้อมูลจาก wikipedia.org และ davidgamethailand.com
ยาวมากกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ตอบลบยาวววววววววววววววววววววววววววววววววเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิินนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน
ตอบลบยาวไป่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่่ิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิ
ตอบลบมีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีร
ตอบลบสวัสดีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีี
ตอบลบ